ติดตามความเคลื่อนไหวได้อีกช่องทาง ที่เพจเฟสบุ๊ค คลิ๊กได้เลยครับ
www.facebook.com/sarnmaisak    
หรือโทรคุย 089-1238425 ได้ตลอด 24 ชั่วโมง

 update 18/08/2566

13:53 PM

    

 

เมนูหลัก

   บ้านของคนรักไม้

   ราคาศาล 

ลูกค้าติดตามงาน8

ลูกค้าติดตามงาน7


ลูกค้าติดตามงาน6

 ลูกค้าติดตามงาน5 

  ลูกค้าติดตามงาน 4

  ลูกค้าติดตามงาน3

  ลูกค้าติดตามงาน2

  ลูกค้าติดตามงาน1

  ผลงาน

  แอบดูช่างทำศาลจากไม้

  ช่องทางการขนส่ง

  ส่งศาลไม้สักทั่วประเทศ

  ไม้พื้น ไม้ฝา ไม้เพดาน

  ไซ ซอย เซาะร่อง

   โต๊ะหมู่บูชา

   ไม้ฉลุ เชิงชาย ระเบียง

   เฟอร์ประหยัดพื้นที่

  นางกวัก 

  ตา ยาย ไม้แกะสลัก

 **เฟอร์นิเจอร์ไม้สักแบบใหม่**NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW NEW

 

***ความรู้การตั้งศาล***

 

 

 

 

 
LINK

 

 

 

 

 

 

 

 สถิติวันนี้ 11 คน
 สถิติเมื่อวาน 72 คน
 สถิติเดือนนี้
สถิติปีนี้
สถิติทั้งหมด
3231 คน
11863 คน
1298554 คน
เริ่มเมื่อ 2008-04-29







 

 



กดโทรได้เลยครับ 089-1238425 " ปอเทพบุตรงานไม้ " ยินดีรับสายและให้บริการทุกท่าน ตลอด 24 ชั่วโมงครับ


 

 

องค์พระภูมิชัยมงคลไม้สักลักษณะพระภูมิชัยมงคล

                ทรงฉลองพระองค์อย่างกษัตริย์ หรือ เทพารักษ์โดยทรงสวมชฎาทรงสูง สวมพระภูษาห้อยชายมีสายธุรำ สายสังวาลย์ 

ปั้นเหน่งและพาหุรัดสวมฉลองพระบาทเชิงงอน พระหัตถ์ซ้ายถือถุงเงิน ถุงทอง พระหัตถ์ขวาทรงถือพระขรรค์ปกครองดูแลสถานบ้านเรือน

โดยในสมัยโบราณเจว็ดจะทำมาจากไม้คล้ายแผ่นใบเสมา เพราะถือว่าพระภูมิเป็นรุกขเทวดาที่สถิตอยู่ในต้นไม้


"เจ็วด" ความหมายของเจว็ด โดยราชบัณทิต

เจว็ด(จะ-เหฺว็ด)   เป็นคำเรียกแผ่นไม้รูปคล้ายใบเสมา แต่ทำทรงสูง เพรียว. ด้านหน้าวาดรูปหรือสลักเป็นภาพเทวดาถือพระขรรค์ เรียกว่า 

รูปเทพารักษ์บ้านที่มีศาลพระภูมิจะประดิษฐานเจว็ดนี้ไว้ในศาลพระภูมิ เชื่อกันว่าพระภูมิจะช่วยคุ้มกันบ้านเรือน

และดูแลผู้คนที่อยู่ในบ้านนั้นให้แคล้วคลาดจากภัยอันตรายต่างๆเจว็ดนิยมทำด้วยไม้มาแต่เดิม

 เพราะถือว่าพระภูมิเป็นรุกขเทวดาที่สถิตอยู่ในต้นไม้

ผู้เขียน ศ. ดร.กาญจนานาคสกุลราชบัณฑิต


ความเป็นมาของเจว็ด

คติความเชื่อเกี่ยวกับเจว็ดหรือภาพเทพารักษ์เช่นนี้ คงมีขึ้นอย่างช้านานตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย 

เนื่องจากหลักฐานคำให้การขุนหลวงหาวัด

ได้ระบุว่า“ย่านป่าโทน มีร้านขายทับ โทน เรไร ปี่แก้ว จ้องหน่อง ...ศาลพระภูมิ 

เจว็ดเขียนเทวรูป เสื่อลำแพน...และความนิยมในการตั้งศาลพระภูมิที่มีเจว็ดอยู่ภายใน 

ก็ยังคงสืบต่อมายังสมัยรัตนโกสินทร์ด้วย รูปแบบของเจว็ดในบางแห่งอาจมีความแตกต่างกันอยู่บ้าง  

ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับสถานที่ตั้งเป็นสำคัญว่าอยู่ในสถานที่ใด 

เช่น หอแก้วศาลพระภูมิในพระบรมมหาราชวัง ซึ่งเป็นอาคารทรงไทยประเพณี 

ลักษณะของอาคารเช่นนี้ เป็นส่วนหนึ่งที่แสดงให้เห็นถึงระดับความสำคัญของศาลพระภูมิประจำพระบรมมหาราชวัง 

ภายหอแก้วมีเจว็ดทั้งหมด5แผ่น เขียนภาพพระอินทร์และภาพท้าวจตุโลกบาล 

การเขียนภาพในลักษณะเช่นนี้บนเจว็ดดูจะแตกต่างจากเจว็ดทั่วๆ ไป

อาจเป็นไปได้ว่าพระบรมมหาราชวังเป็นสถานที่ที่มีความสำคัญสูงสุด 

จึงต้องอาศัยเทพชั้นสูงคอยปกป้องคุ้มครองซึ่งต่างจากสถานที่อื่นๆ  

ที่มีความสำคัญน้อยกว่าจึงอาศัยเพียงเทพชั้นรองหรือเทพารักษ์ก็คงจะเพียงพอ หรืออีกนัยหนึ่งก็ชวนให้คิดว่ามีความสัมพันธ์

เชื่อมโยงกับราชธานีแห่งนี้ซึ่งมีนามว่ากรุงรัตนโกสินทร์ อันแปลว่าเมืองแก้วแห่งพระอินทร์

 

 

 

 


 

 

 

รูปแบบการเกะที่เสร็จและพร้อมทำสีครับ

ด้านข้างครับ

ด้านหลัง

 

หลังทำสีเสร็จครับ (อยากได้สีอื่นนอกจากนี้บอกได้ครับ)


เจว็ดไม้แกะสลัก พระภูมิไม้แกะสลัก โทรสอบถามได้โทร 089-1238425 ยินดีรับสายครับ


คลิ๊กนี้มีความหมาย

 

copyright @ 2007, By : POR & JUDY